ชี้แจงนักศึกษาที่ลงทะเบียนรายวิชาสิทธิขั้นพื้นฐาน
(๑) แนวทางการบรรยาย
(๒) เอกสารประกอบการบรรยาย
(๓) การวัดผลและประเมินผล
(๔) สถานที่จัดการเรียนการสอน
(๑) แนวทางการบรรยายรายวิชาสิทธิขั้นพื้นฐาน ประจำภาคปลาย/๒๕๕๒ มีดังนี้
บทที่ ๑ ภาคประวัติศาสตร์
๑.๑ บ่อเกิดของสิทธิมนุษยชน
๑.๒ สิทธิตามธรรมชาติ
๑.๓ พัฒนาการแห่งสิทธิมนุษยชน
บทที่ ๒ ภาคคุณค่าและหลักการ
๒.๑ ความหมายของสิทธิมนุษยชน
๒.๒ องค์ประกอบของสิทธิมนุษยชน
๒.๓ การจำแนกประเภทของสิทธิ
๒.๔ ความหมายของสิทธิ เสรีภาพ ความเสมอภาค และอำนาจ
๒.๕ สังคม สิทธิมนุษยชน และหลักนิติรัฐ
บทที่ ๓ ภาคเนื้อหาแห่งสิทธิมนุษยชน
๓.๑ ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
๓.๒ กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพอเพียงและสิทธิทางการเมือง
๓.๓ กติการระหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
๓.๔ อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ
๓.๕ อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก
๓.๖ อนุสัญญาว่าด้วยภารกิจต้านการทรมานและการกระทำรุ่นแรงต่อมนุษย์
๓.๗ อนุสัญญาว่าด้วยการปฏิบัติต่อผู้พิการ
๓.๘ การคุ้มครองสิทธิของผู้สูงวัย
๓.๙ สิทธิของผู้ป่วยโรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง
๓.๑๐ปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของประชาชาติท้องถิ่นดั้งเดิมแห่งสหประชาชาติ
๓.๑๑อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ
บทที่ ๔ ภาคข้อเท็จจริง : ประเทศไทย
๔.๑ พัฒนาการทางสังคม ในเรื่องสิทธิมนุษยชน
๔.๒ กลไกในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
๔.๓ ธัมมิกสังคม สิทธิมนุษยชนและประชาธิปไตย
บทที่ ๕ ลักษณะการละเมิดสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย
๕.๑ การละเมิดสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย
๕.๒ กรณีศึกษา “การเลือกปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม”
๕.๓ กรณีศึกษา “บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ”
๕.๔ กรณีศึกษา “ บุคคลสูญหาย”
๕.๕ กรณีศึกษา “เสรีภาพในการชุมนุม”
๕.๖ กรณีศึกษา “อารยะขัดขืน”
๕.๗ กรณีศึกษา “สิทธิชุมชน”
๕.๘ กรณีศึกษา “สิทธิของผู้ต้องหาในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา”
๕.๙ นักสิทธิมนุษยชน
บทที่ ๖ สิทธิมนุษยชนศึกษา
บทที่ ๗ CSR จริยธรรมและสิทธิมนุษยชน
(๒) นักศึกษาสามารถโหลดข้อมูลเอกสารได้ที่บล็อคหัวข้อสิทธิมนุษยชน เป็นเอกสารประกอบการบรรยาย
(๓) การวัดและประเมินผล
๓.๑ คะแนนเก็บ ๖๐ คะแนน แบ่งเป็นทดสอบย่อย ใบกิจกรรม การเข้าชั้นเรียน และ/หรือรายงานกลุ่ม
๓.๒ สอบปลายภาค ๔๐ คะแนน
(๔) สถานที่
กลุ่มที่เรียนวันจันทร์ถึงศุกร์ใช้สถานที่คณะนิติศาสตร์
กลุ่มที่เรียนวันเสาร์ จะแจ้งให้ทราบภายหลัง หรือสามารถติดต่อได้ที่สำนักศึกษาทั่วไป
-------------------------------
กิตติบดี
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
กฎหมาย การเมืองและสังคมไทย "ความหมายของประชาธิปไตย" ตอน ๑
กฎหมาย การเมืองและสังคมไทย ตอน ๑ ศึกษาจากมุมมองของผู้ช่วยศาสตราจารย์จรัล ดิษฐาอภิชัย ประธานมูลนิธิสถาบันประชาธิปไตย/อจ.บรรยายรายวิชา...
-
โรงเรียนสอนกฎหมายภายใต้บริบทของสังคมไทย หากจะกล่าวถึงสัญลักษณ์ในแวดวงกฎหมายหรือคนในกระบวนการยุติธรรมคงหนีไม่พ้นรูปตราชู หรือเทพีถือตราชู เพ...
-
การแบ่งประเภทกฎหมาย มีดังนี้ (๑) พิจารณาจากความสัมพันธ์ระหว่างคู่กรณี (๒) พิจารณาโดยพิจารณาจากลักษณะแห่งการใช้กฎหมาย ๑. การแบ่งแยกประเภทโดย...
-
สรุป สัปดาห์ที่ ๓ /ภาคปลาย ปี ๒๕๕๒ การเรียนรู้แบ่งเป็น ๓ ช่วง ช่วงที่หนึ่ง (๕๐ นาที) - อธิบายให้ทราบว่า พัฒนาการของสิทธิมนุษยชนมีทั้งหมด...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น